หลายคนคงเคยเห็นคำบาลีสันสกฤตในหนังสือสวดมนต์บางเล่มใช่มั้ยคะ
วันนี้มาเพิ่มความรู้เรื่องการพิมพ์อักขระเหล่านี้กันจ้า
เริ่มจาก ํ (อัง) ตัวกลมๆที่อยู่บนพยัญชนะ เช่น นํ ก็จะพิมพ์ได้ด้วยการพิมพ์พยัญชนะ น แล้วกดแป้นshift ค้างไว้และกดแป้น ํ(จะอยู่แป้นY)
ตัวต่อมาคือ . (พินทุ) เป็นจุดดำที่อยู่ใต้พยัญชนะ เช่น ปจฺ ก็จะพิมพ์ตัวพยัญชนะ จ แล้วกดแป้นshiftค้างไว้และกดแป้น ฺ (พินทุ อยู่แป้นB)
ยามักการ์ หรือยามักการ มีลักษณะคล้ายเลข3กลับด้าน (Ɛ) ซึ่งจะใช้เติมเหนือพยัญชนะที่ต้องการระบุว่าตัวใดเป็นอักษรนำหรืออักษรควบกล้ำ ยามักการ์จะอยู่ที่อักขระพิเศษ เราต้องพิมพ์ตัวพยัญชนะก่อนแล้วจึงคลิก2ครั้งที่ตัวยามักการ์เพื่อทำการแทรก
วันนี้มาเพิ่มความรู้เรื่องการพิมพ์อักขระเหล่านี้กันจ้า
เริ่มจาก ํ (อัง) ตัวกลมๆที่อยู่บนพยัญชนะ เช่น นํ ก็จะพิมพ์ได้ด้วยการพิมพ์พยัญชนะ น แล้วกดแป้นshift ค้างไว้และกดแป้น ํ(จะอยู่แป้นY)
ตัวต่อมาคือ . (พินทุ) เป็นจุดดำที่อยู่ใต้พยัญชนะ เช่น ปจฺ ก็จะพิมพ์ตัวพยัญชนะ จ แล้วกดแป้นshiftค้างไว้และกดแป้น ฺ (พินทุ อยู่แป้นB)
ยามักการ์ หรือยามักการ มีลักษณะคล้ายเลข3กลับด้าน (Ɛ) ซึ่งจะใช้เติมเหนือพยัญชนะที่ต้องการระบุว่าตัวใดเป็นอักษรนำหรืออักษรควบกล้ำ ยามักการ์จะอยู่ที่อักขระพิเศษ เราต้องพิมพ์ตัวพยัญชนะก่อนแล้วจึงคลิก2ครั้งที่ตัวยามักการ์เพื่อทำการแทรก
ส่วนฟอนต์ที่จะมักใช้พิมพ์ในหนังสือสวดมนต์นั้น ก็จะเป็น th sarabun pali (อันนี้มีแค่ตัวบาง) ,Angsana ,Browallia (หรืออาจจะแล้วแต่ความสะดวกจ้า)
หวังว่าการแบ่งปันความรู้กันเล็กๆน้อยๆนี้ จะทำให้ทำงานกันได้สะดวกขึ้นนะจ้ะ
by..okpingdiary
by..okpingdiary
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น